วันจันทร์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2558

0853601625 คุณภาพและบริการ สร้างสรรค์ แบ่งปัน ให้โอกาส

สร้างสรรค์ แบ่งปัน ให้โอกาส

0853601625
พาเลทไม้ 5.0
Pallet 5.0
Line. komnpallet
พาเลทไม้ลังไม้ IPPC ISPM15
เพื่อการส่งออก
ขายพาเลทยูโรมือสอง
พาเลทไม้มือสอง
Email. kkomn@yahoo.com


วันพุธที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2555

0853601625 พาเลทไม้ พาเลทไม้ ลังไม้ ลังไม้ IPPC ISPM15

085-3601625  พาเลทไม้ พาเลทไม้ ลังไม้ ลังไม้ IPPC ISPM15 เพื่อการส่งออก










PALLET GROUP
1. นิมิตใหม่  มีนบุรี  กทม.
2. คลองหลวง  ปทุมธานี
3. พานทอง  ฃลบุรี
4. กระทุ่มแบน  สมุทรสาคร
5. สมุทรปราการ
6. แกลง  ระยอง
7. เสาไห้  สระบุรี
8. ประตูน้ำพระอินทร์  อยุธยา









2-way 4-way







จำหน่าย พาเลทไม้ ลังไม้ IPPC




Wooden Pallets For Export Purpose



พาเลทไม้ REUSE IPPC-ISPM15



พร้อมใบรับรอง CERTIFICATE



เพื่อการส่งสินค้าออกหรือใช้ในโรงงาน



ตามมาตรฐาน IPPC พร้อมใบรับรอง


พาเลท IPPC with Certificate





อนุสัญญาอารักขาพืชระหว่างประเทศ



(International Plant Protection Convention , IPPC) จึงได้จัดทำมาตรฐานระหว่างประเทศสำหรับมาตรการสุขอนามัยพืช ( International for Phytosanitary Measure) ว่าด้วยแนวทางการควบคุมวัสดุบรรจุภัณฑ์ไม้ในการค้าระหว่างประเทศ



(Guideline for Regulating Wood Packing Material in International Trade , ISPM 15) โดยกำหนดให้ประเทศภาคีสมาชิกออกกฎระเบียบเพื่อควบคุมวัสดุบรรจุภัณฑ์ไม้ในการค้าระหว่างประเทศ ต้องมีการกำจัดศัตรูพืช และมีเครื่องหมายประทับรับรองการกำจัดศัตรูพืชตามแบบที่กำหนดในมาตรฐาน พร้อมแสดงหมายเลขทะเบียนรับรอง




Tel: 085-3601625


087-0049327


Email: kkomn@yahoo.com


http://komnpallet.industry4u.com/



IPPC ISPM 15















วิธีการปฏิบัติเพื่อได้รับการรับรอง ปัจจุบันมี 2 วิธี คือ การอบด้วยความร้อน (Heat Treatment) และการรมด้วยเมทิลโบรไมด์ (methyl Bromide Fumigation) โดยวิธีการอบด้วยความร้อนต้องนำวัตถุดิบไม้ที่จะประกอบเป็นบรรจุภัณฑ์มาอบด้วยความร้อนจนแกนกลางของไม้ได้รับความร้อนไม่มน้อยกว่า 56 องศาเซลเซียสนานไม่น้อยกว่า 30 นาที หากเป็นการอบแห้ง (kin-drying) : KD) หรือการอัดน้ำยาด้วยแรงอัด (Chemical Pressure Impregnation : CPI) ก็ต้องให้ความร้อนและใช้เวลาในระดับเดียวกันส่วนการรมเมทิลโบรไมด์ อัตราความเข้มข้นของการใช้อุณหภูมิ จะแตกต่างกันไป แต่อุณหภูมิต่ำสุด ต้องไม่ต่ำกว่า 10 องศาเซลเซียส และระยะเวลารมต้องไม่น้อยกว่า 16 ชั่วโมง ในขณะที่วิธีการปฏิบัติอย่างอื่น ๆ เช่น การรมด้วยฟอสฟินการรรมด้วยซัลเฟอร์ฟลูโอไรด์ การอัดน้ำยา การอาบน้ำยา การฉายรังสี หรือการควบคุมบรรยากาศ หากมีข้อมูลทางวิทยาศาสตร์สนับสนุนว่าสามารถกำจัดศัตรูพืชในวัสดุบรรจุภัณฑ์ไม่ได้ก็สามารถนำมาใช้ได้เช่นกัน







หลังจากวัสดุบรรจุภัณฑ์ไม้เหล่านี้ได้ผ่านวิธีการปฏิบัติเพื่อกำจัดศัตรูพืชที่อาจติดไป ผู้ที่ได้รับอนุญาตให้เป็นผู้ประกอบการจะประทับตราสัญลักษณ์ลงบนวัสดุบรรจุภัณฑ์อย่างถาวรในบริเวณที่เห็นได้ชัดเจนอย่างน้อย 2 ด้านที่อยู่ตรงกันข้ามและต้องใช้สีเข้มข้นเท่านั้น ห้ามใช้สีแดงและสีส้มประทับ



วันเสาร์ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

0853601625 พาเลทไม้ พาเลทไม้ ลังไม้ ลังไม้ IPPC ISPM15


05/05/55


087~0049327 พาเลทไม้ พาเลทไม้ ลังไม้ ลังไม้ IPPC ISPM15 เพื่อการส่งออก

PALLET GROUP




1. นิมิตใหม่ มีนบุรี กทม.

2. คลองหลวง ปทุมธานี

3. พานทอง ฃลบุรี

4. กระทุ่มแบน สมุทรสาคร

5. สมุทรปราการ

6. แกลง ระยอง

7. เสาไห้ สระบุรี

8. ประตูน้ำพระอินทร์ อยุธยา





 















2-way 4-way















จำหน่าย พาเลทไม้ ลังไม้ IPPC



















Wooden Pallets For Export Purpose























พาเลทไม้ REUSE IPPC-ISPM15















พร้อมใบรับรอง CERTIFICATE















เพื่อการส่งสินค้าออกหรือใช้ในโรงงาน















ตามมาตรฐาน IPPC พร้อมใบรับรอง















พาเลท IPPC with Certificate































อนุสัญญาอารักขาพืชระหว่างประเทศ







(International Plant Protection Convention , IPPC) จึงได้จัดทำมาตรฐานระหว่างประเทศสำหรับมาตรการสุขอนามัยพืช ( International for Phytosanitary Measure) ว่าด้วยแนวทางการควบคุมวัสดุบรรจุภัณฑ์ไม้ในการค้าระหว่างประเทศ















(Guideline for Regulating Wood Packing Material in International Trade , ISPM 15) โดยกำหนดให้ประเทศภาคีสมาชิกออกกฎระเบียบเพื่อควบคุมวัสดุบรรจุภัณฑ์ไม้ในการค้าระหว่างประเทศ ต้องมีการกำจัดศัตรูพืช และมีเครื่องหมายประทับรับรองการกำจัดศัตรูพืชตามแบบที่กำหนดในมาตรฐาน พร้อมแสดงหมายเลขทะเบียนรับรอง























Tel: 085-3601625














087-0049327













Email: kkomn@yahoo.com











http://komnpallet.industry4u.com/











































IPPC ISPM 15















วิธีการปฏิบัติเพื่อได้รับการรับรอง ปัจจุบันมี 2 วิธี คือ การอบด้วยความร้อน (Heat Treatment) และการรมด้วยเมทิลโบรไมด์ (methyl Bromide Fumigation) โดยวิธีการอบด้วยความร้อนต้องนำวัตถุดิบไม้ที่จะประกอบเป็นบรรจุภัณฑ์มาอบด้วยความร้อนจนแกนกลางของไม้ได้รับความร้อนไม่มน้อยกว่า 56 องศาเซลเซียสนานไม่น้อยกว่า 30 นาที หากเป็นการอบแห้ง (kin-drying) : KD) หรือการอัดน้ำยาด้วยแรงอัด (Chemical Pressure Impregnation : CPI) ก็ต้องให้ความร้อนและใช้เวลาในระดับเดียวกันส่วนการรมเมทิลโบรไมด์ อัตราความเข้มข้นของการใช้อุณหภูมิ จะแตกต่างกันไป แต่อุณหภูมิต่ำสุด ต้องไม่ต่ำกว่า 10 องศาเซลเซียส และระยะเวลารมต้องไม่น้อยกว่า 16 ชั่วโมง ในขณะที่วิธีการปฏิบัติอย่างอื่น ๆ เช่น การรมด้วยฟอสฟินการรรมด้วยซัลเฟอร์ฟลูโอไรด์ การอัดน้ำยา การอาบน้ำยา การฉายรังสี หรือการควบคุมบรรยากาศ หากมีข้อมูลทางวิทยาศาสตร์สนับสนุนว่าสามารถกำจัดศัตรูพืชในวัสดุบรรจุภัณฑ์ไม่ได้ก็สามารถนำมาใช้ได้เช่นกัน







หลังจากวัสดุบรรจุภัณฑ์ไม้เหล่านี้ได้ผ่านวิธีการปฏิบัติเพื่อกำจัดศัตรูพืชที่อาจติดไป ผู้ที่ได้รับอนุญาตให้เป็นผู้ประกอบการจะประทับตราสัญลักษณ์ลงบนวัสดุบรรจุภัณฑ์อย่างถาวรในบริเวณที่เห็นได้ชัดเจนอย่างน้อย 2 ด้านที่อยู่ตรงกันข้ามและต้องใช้สีเข้มข้นเท่านั้น ห้ามใช้สีแดงและสีส้มประทับ




วันศุกร์ที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2555

085-3601625 พาเลทไม้ พาเลทไม้ ลังไม้ ลังไม้ IPPC ISPM15 เพื่อการส่งออก



                                               2-way                                  4-way



จำหน่าย พาเลทไม้ ลังไม้ IPPC




Wooden Pallets For Export Purpose





พาเลทไม้ REUSE  IPPC-ISPM15



พร้อมใบรับรอง CERTIFICATE



เพื่อการส่งสินค้าออกหรือใช้ในโรงงาน



ตามมาตรฐาน IPPC พร้อมใบรับรอง



พาเลท IPPC with Certificate







อนุสัญญาอารักขาพืชระหว่างประเทศ

(International Plant Protection Convention , IPPC) จึงได้จัดทำมาตรฐานระหว่างประเทศสำหรับมาตรการสุขอนามัยพืช ( International for Phytosanitary Measure) ว่าด้วยแนวทางการควบคุมวัสดุบรรจุภัณฑ์ไม้ในการค้าระหว่างประเทศ



(Guideline for Regulating Wood Packing Material in International Trade , ISPM 15) โดยกำหนดให้ประเทศภาคีสมาชิกออกกฎระเบียบเพื่อควบคุมวัสดุบรรจุภัณฑ์ไม้ในการค้าระหว่างประเทศ ต้องมีการกำจัดศัตรูพืช และมีเครื่องหมายประทับรับรองการกำจัดศัตรูพืชตามแบบที่กำหนดในมาตรฐาน พร้อมแสดงหมายเลขทะเบียนรับรอง





Tel: 085-3601625



087-0049327



Email: kkomn@yahoo.com
http://komnpallet.industry4u.com/






IPPC ISPM 15



วิธีการปฏิบัติเพื่อได้รับการรับรอง ปัจจุบันมี 2 วิธี คือ การอบด้วยความร้อน (Heat Treatment) และการรมด้วยเมทิลโบรไมด์ (methyl Bromide Fumigation) โดยวิธีการอบด้วยความร้อนต้องนำวัตถุดิบไม้ที่จะประกอบเป็นบรรจุภัณฑ์มาอบด้วยความร้อนจนแกนกลางของไม้ได้รับความร้อนไม่มน้อยกว่า 56 องศาเซลเซียสนานไม่น้อยกว่า 30 นาที หากเป็นการอบแห้ง (kin-drying) : KD) หรือการอัดน้ำยาด้วยแรงอัด (Chemical Pressure Impregnation : CPI) ก็ต้องให้ความร้อนและใช้เวลาในระดับเดียวกันส่วนการรมเมทิลโบรไมด์ อัตราความเข้มข้นของการใช้อุณหภูมิ จะแตกต่างกันไป แต่อุณหภูมิต่ำสุด ต้องไม่ต่ำกว่า 10 องศาเซลเซียส และระยะเวลารมต้องไม่น้อยกว่า 16 ชั่วโมง ในขณะที่วิธีการปฏิบัติอย่างอื่น ๆ เช่น การรมด้วยฟอสฟินการรรมด้วยซัลเฟอร์ฟลูโอไรด์ การอัดน้ำยา การอาบน้ำยา การฉายรังสี หรือการควบคุมบรรยากาศ หากมีข้อมูลทางวิทยาศาสตร์สนับสนุนว่าสามารถกำจัดศัตรูพืชในวัสดุบรรจุภัณฑ์ไม่ได้ก็สามารถนำมาใช้ได้เช่นกัน

หลังจากวัสดุบรรจุภัณฑ์ไม้เหล่านี้ได้ผ่านวิธีการปฏิบัติเพื่อกำจัดศัตรูพืชที่อาจติดไป ผู้ที่ได้รับอนุญาตให้เป็นผู้ประกอบการจะประทับตราสัญลักษณ์ลงบนวัสดุบรรจุภัณฑ์อย่างถาวรในบริเวณที่เห็นได้ชัดเจนอย่างน้อย 2 ด้านที่อยู่ตรงกันข้ามและต้องใช้สีเข้มข้นเท่านั้น ห้ามใช้สีแดงและสีส้มประทับ





PALLET GROUP




1. นิมิตใหม่ มีนบุรี กทม.



2. คลองหลวง ปทุมธานี



3. พานทอง ฃลบุรี



4. กระทุ่มแบน สมุทรสาคร

5. สมุทรปราการ



6. แกลง ระยอง



7. เสาไห้ สระบุรี



8. ประตูน้ำพระอินทร์ อยุธยา



วันพฤหัสบดีที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2552

085-3601625 พาเลทไม้ ลังไม้ IPPC ISPM15 เพื่อการส่งออก










โรงงานผลิต-จำหน่าย พาเลทไม้ ลังไม้ IPPC ISPM 15


เพื่อการส่งออก หรือใช้ในโรงงาน


4-way เต๋า   2-way คาน


โรงงานผลิต-จำหน่าย

พาเลทไม้-ลังไม้


Wooden Pallets For Export Purpose


พาเลทไม้ reuse อบ IPPC ISPM15

พร้อมใบรับรอง CERTIFICATE

เพื่อส่งสินค้าออกหรือใช้ในโรงงาน

อบตามมาตรฐาน IPPC พร้อมใบรับรอง



http://komnpallet.industry4u.com/


email: kkomn@yahoo.com


085-3601625


087-0049327


PALLET GROUP




1. นิมิตใหม่ มีนบุรี กทม.



2. คลองหลวง ปทุมธานี



3. พานทอง ฃลบุรี



4. กระทุ่มแบน สมุทรสาคร



5. แกลง ระยอง



6.สมุทรปราการ



7. เสาไห้ สระบุรี



8. ประตูน้ำพระอินทร์ อยุธยา









พาเลทไม้ wood pallet 085-3601625  087-0049327 เพื่อการส่งออก



1. แบบสองทาง ตีห่าง สองหน้า
     พื้นด้านบนและด้านล่างของตัวพาเล จะปูด้วยไม้ ให้มีช่องไฟ ห่างกันประมาณ 2" - 3" คานไม้ 3 อัน เป็นพาเลที่มีช่อง ให้งาโฟล์กลิฟท์ เสียบได้ 2 ทาง เหมาะสำหรับใช้วางสินค้า แล้วซ้อนกันได้บนตัวพาเล 

2. แบบสองทาง ปูทึบ หนึ่งหน้า
     พื้นด้านบนของตัวพาเล จะปูด้วยไม้ชิด ติดกัน ไม่มีช่องไฟ คานไม้ 3 อัน เป็นพาเลที่มีช่อง ให้งาโฟล์กลิฟท์เสียบได้ 2 ทาง เหมาะสำหรับใช้วางสินค้า ที่ต้องการรักษาความเรียบร้อยของสินค้า เช่น กระดาษ เป็นต้น

3. แบบสองทาง หนึ่งหน้า ตีห่าง
     พื้นด้านบนของตัวพาเล จะปูด้วยไม้ ให้มีช่องไฟห่างกันประมาณ 2" - 3" คานไม้ 3 อัน พื้นด้านล่าง อาจจะปูด้วยไม้ประมาณ 2-3 อัน หรือไม่จำเป็นต้องมีไม้พื้นล่างก็ได้ เหมาะสำหรับการแพ็คสินค้า แล้วโหลดเข้าตู้คอนเทนเนอร์

4. แบบสี่ทาง หนึ่งหน้า ปูชิด ขาลูกเต๋า
      พื้นด้านบนของตััวพาเล จะปูด้วยไม้ชิดติดกัน ไม่มีช่องไฟ ไม้คาน 3 อัน ไม้ลูกเต๋า 9 ลูกเป็นพาเลที่มีช่องให้งาโฟล์กลิฟท์เสียบได้ 4 ทาง เหมาะสำหรับใช้วางสินค้าที่ต้องการรักษาความเรียบร้อยของสินค้า เช่น กระดาษ เป็นต้น

5. แบบสี่ทาง ตีห่าง ขาลูกเต๋า
     พื้นด้านบนของตัวพาเล จะปูด้วยไม้ ให้มีช่องไฟประมาณ 2" - 3" ไม้คาน 3 อัน ไม้ลูกเต๋า 9 ลูก เป็นพาเลที่มีช่องให้งาโฟล์กลิฟท์เสียบได้ 4 ทาง เหมาะสำหรับใช้วางสินค้าบนแลค

          

6. แบบสี่ทาง หน้าเดียว ตีห่าง มีปีกยื่นด้านเดียว
     พื้นด้านบนของตัวพาเล จะปูด้วยไม้ ให้มีช่องไฟประมาณ 2" - 3" ไม้คาน 3 อัน งาโฟล์กลิฟท์เสียบได้ 4 ทาง พาเลแบบนี้ สามารถออกแบบให้รับสินค้าหนักได้ดี  



KOMN PALLET GROUP

http://komnpallet.industry4u.com

Email:  kkomn@yahoo.com

THAILAND PALLET GROUP




1. นิมิตใหม่ มีนบุรี กทม.



2. คลองหลวง ปทุมธานี



3. พานทอง ฃลบุรี



4. กระทุ่มแบน สมุทรสาคร



5. แกลง ระยอง



6. เสาไห้ สระบุรี



7. ประตูน้ำพระอินทร์ อยุธยา






ประเภทของตู้สินค้า


1) Dry Cargoes เป็นตู้ที่ใส่สินค้าทั่วไปที่มีการบรรจุหีบห่อหรือภาชนะต้องเป็นสินค้าที่ไม่ต้องการรักษาอุณหภูมิ โดยสินค้าที่เข้าตู้ล้วจะต้องมีการจัดทำที่กั้นไม่ให้มีสินค้าเลื่อนหรือขยับ หากใช้เป็นเชือกไนลอนรัดหน้าตู้ ก็จะเรียกว่า Lashing

2) Refrigerator Cargoes เป็นตู้สินค้าประเภทที่มีเครื่องปรับอากาศ มีการปรับอุณหภูมิในตู้ ซึ่งทำตามมาตรฐานต้องสามารถปรับอุณหภูมิได้อย่างน้อย –18 องศาเซลเซียสโดยเครื่องทำความเย็นนี้อาจติดอยู่กับตู้หรือมีปลั๊กใช้กระแสไฟฟ้าเสียบจากนอกตู้ ซึ่งจะต้องมีที่วัดอุณหภูมิแสดงให้เห็นสถานะของอุณหภูมิของตู้สินค้า

3) Open Top เป็นตู้ซึ่งส่วนใหญ่จะต้องเป็น 40 ฟุต โดยออกแบบมาไม่ให้มีหลังคา สำหรับใช้ในการวางสินค้าขนาดใหญ่ เช่น เครื่องจักร ซึ่งไม่สามารถขนย้ายผ่านประตู้ได้

4) Flat-rack เป็นพื้นราบมีขนาดกว้างและยาว ตาม Size ของ Container มาตรฐาน เป็นตู้คล้าย Container ที่มีแต่พื้น Platform สำหรับใส่สินค้าลักษณะพิเศษ เช่น เครื่องจักรประติมากรรม,รถแทรกเตอร์ เพื่อให้สามารถจัดเรียงกองในรูปแบบที่เป็น Slot ซึ่งเป็นลักษณะเรือที่เป็น Container







ขนาดตู้คอนเทนเนอร์ 20 ฟุต









ขนาดตู้คอนเทนเนอร์ 40 ฟุต







คำศัพท์ประเภทสินค้า



Live Animals-ANI สัตว์มีชีวิต

Perishables-PER ของเน่าเปื่อยได้

Valuable Cargo-VAL ของมีค่า

Human Remains-HUM ศพมนุษย์

Dangerous Goods สินค้าอันตราย



คำศัพท์ที่ระบุในเอกสาร

BAF (Bunker Adjuster Factor) ตัวปรับค่าน้ำมัน

B/L (Bill of lading) ใบตราส่งสินค้าทางเรือ

Surender B/L ใบตราส่งสินค้าที่ผู้รับใบตราส่ง สามารถรับใบสั่งปล่อยสินค้าที่ปลายทางได้โดยไม่ต้องใช้ใบตราส่งสินค้าต้นฉบับ

Shipped on Board เป็นคำที่ระบุใน B/Lมีความหมายว่าเรือสินค้าได้รับของไว้บนเรือเป็นที่เรียบร้อย

AWB(Air Waybill) ใบตราส่งสินค้าทางอากาศ

HAWB(House Air Waybill) ใบตราขนส่งทางอากาศที่ออกโดย Freight Forwarder

CAF (Currency Adjustment Factor) ตัวปรับเงินสกุลค่าระวางเรือ

CFS (Container Freight Station) สถานีตู้สินค้า

CY (Container Yard) ลานตู้สินค้า

FCL (Full Container Load) สินค้าเต็มตู้

LCL (Less Than Container Load) สินค้าไม่เต็มตู้

Consolidation การรวบรวมสินค้า หรือ การรวมสินค้า โดยปกติจะกระทำโดยตัวแทนของผู้ซื้อสินค้า

TEU(Twenty-Foot Equivalent Unit ) ตู้สินค้าขนาด 20 ฟุต

FEU (Forty-Foot Equivalent Unit) ตู้สินค้าขนาด 40 ฟุต



THC (Terminal Handing Charge) ค่าใช้จ่ายที่ท่าในการเคลื่อนย้ายตู้สินค้า

Freight Collect ค่าระวางจ่ายที่เมืองปลายทาง

Freight Prepaid ค่าระวางจ่ายที่ต้นทาง

Detention ค่าคืนตู้สินค้าที่ช้าเกินกว่าที่กำหนด

E.T.A (Estimate time of Arrival) วันที่ที่เรืองจะเข้าถึงท่าปลายทาง

E.T.D (Estimate time of Departure) วันที่ที่เรือจะออกจากท่าต้นทาง





INCOTERMS 2000

5.1 EXW ( .... ระบุสถานที่)

ผู้ขายไม่ต้องทำอะไรเลย เป็นหน้าที่ของผู้ซื้อที่จะต้องจัดการขนส่งสินค้าเองตั้งแต่ออกจากคลังสินค้าของผู้ขาย ค่าใช้จ่ายและความเสี่ยงตกอยู่กับผู้ซื้อทั้งสิ้น ตั้งแต่ค่าใช้จ่ายในการผ่านด่านศุลกากรขาออก กระทั่งค่าใช้จ่ายในการขนของขึ้นรถที่มารับ ณ คลังสินค้าของผู้ขาย ทั้งนี้ เว้นแต่จะตกลงกันไว้เป็นอย่างอื่น เช่นให้ผู้ขายส่งของขึ้นรถที่ผู้ซื้อจัดมาให้ด้วย



5.2 FCA ( .... ระบุสถานที่ )

ผู้ขายส่งสินค้าให้ถึงจุดหรือสถานที่รับสินค้าที่อยู่ภายใต้ความอารักขาของผู้รับขนสินค้า เช่น Container Freight Station, Cargo Terminal ที่ท่าอากาศยาน หรือ สถานีรถไฟ ฯลฯ โดยเป็นหน้าที่ของผู้ขายในอันที่จะจัดการเพื่อส่งออกด้วย (เช่น ขอใบอนุญาต ในกรณีที่ต้องมีใบอนุญาตส่งออก รวมทั้งผ่านพิธีการศุลกากร) Terms นี้ จะใช้สำหรับการขนส่งทุกชนิด ทั้งทางบกหรือและอากาศ รวมทั้งการขนส่งหลายรูปแบบ โดยเฉพาะทางเรือจะเกี่ยวเนื่องกับการส่งของโดย container ด้วยวิธีที่เรียกว่า RO-RO ( roll on – roll off ) ไม่มีการยกสินค้าขึ้นเรือโดยใช้ปั้นจั่น แต่เป็นการขนส่งสินค้าไปถึงจุดรับสินค้าของผู้รับขนส่ง เช่น CFS ถ้าการส่งมอบสินค้ากระทำที่สถานที่ของผู้ขายเอง ผู้ขายต้องรับผิดชอบในการเอาของขึ้นบรรทุกยานพาหนะที่มารับด้วย แต่ถ้าการส่งมอบกระทำ ณ สถานที่อื่น ผู้ขายจะไม่ต้องรับผิดชอบในการนำของลงจากยานพานะที่ใช้ขนสินค้าไป ฯลฯ



5.3 FAS ( .... ระบุท่าต้นทาง)

ผู้ขายส่งสินค้าให้ถึงข้างลำเรือที่ท่า หากเรือทอดสมออยู่กลางทะเลก็ต้องลำเลียงโดยเรือเล็กไปจนถึงข้างเรือใหญ่ กรณีนี้ ผู้ขายต้องจัดการส่งออกให้เรียบร้อย กล่าวคือทั้งเสียอากรขาออกและขอใบอนุญาตส่งออก ฯลฯ ซึ่งต่างกับ Incoterms 1990 ฉบับเดิมอย่างพลิกหน้ามือเป็นหลังมือ เพราะตามฉบับที่แล้ว ผู้ซื้อต้องจัดการทำพิธีการส่งออกเอาเอง



5.4 FOB ( .... ระบุท่าต้นทาง)

ผู้ขายส่งสินค้าให้ถึงบนเรือ และความเสี่ยงจะเปลี่ยนข้างจากผู้ขายไปตกอยู่กับผู้ซื้อตั้งแต่วินาทีที่สินค้าถูกยกข้ามพ้นกราบเรือ (ship's rail) ไปเหนือลำเรือแล้ว ภาระในการส่งออก (เช่น การขอใบอนุญาต การชำระค่าอากรขาออก ฯลฯ) เป็นของผู้ขายที่จะต้องจัดการให้เสร็จสิ้น Terms นี้ใช้สำหรับการส่งของทางเรือแบบดั้งเดิม (conventional) โดยการยกสินค้าขึ้นเรือ หรือที่เรียกกันว่า LO-LO (Lift on – Lift off)



5.5 CFR ( .... ระบุท่าปลายทาง)

(โปรดสังเกตว่าเงื่อนไขนี้ เดิมใช้กันว่า C&F)

เช่นเดียวกันกับ FOB ข้างบน หากแต่ว่าผู้ขายต้องชำระค่าระวางในการขนส่งทางเรือด้วย มีข้อที่น่าสังเกตคือ ถึงแม้ผู้ขายจะต้องรับภาระเรื่องค่าระวางถึงปลายทางก็ตาม แต่ความเสี่ยงของฝ่ายผู้ขายนี้จะอยู่แค่กราบเรือที่ต้นทาง เหมือนกับกรณีของ FOB เท่านั้นเอง ว่าอีกอย่างหนึ่ง Cost (ค่าใช้จ่าย) ของผู้ขายไปถึงท่าปลายทาง (เสียค่าระวาง) แต่ Risk (ความเสี่ยง) ของผู้ขายจะสิ้นสุดที่กราบเรือเท่านั้นเอง ถ้าเป็นการส่งสินค้าโดยมิได้มียกของข้ามกราบเรือ จะต้องใช้เงื่อนไข CPT ซึ่งจะกล่าวต่อไป



5.6 CIF ( .... ระบุท่าปลายทาง)

เช่นเดียวกับ CFR ทุกประการ เพียงแต่เพิ่มให้ผู้ขายต้องจัดการเอาประกันภัยให้กับสินค้าที่ขนส่ง ด้วยการชำระเบี้ยประกันจนถึงปลายทางด้วยเท่านั้น และต้องไม่ลืมว่าความเสี่ยงของผู้ขายจะมีถึงจุดเหนือกราบเรือ เช่นเดียวกับเงื่อนไข FOB หรือ CFR เท่านั้น เลยไปแล้วเป็นเรื่องของผู้ซื้อ



5.7 CPT ( .... ระบุท่าปลายทาง)

เป็น term ใหม่ ใช้มาตั้งแต่ Incoterms 1990 สำหรับการขนส่งทุกรูปแบบ รวมทั้ง multimodal transport ด้วย มีความหมายใกล้เคียงกันกับ CFR ซึ่งให้ใช้แต่เฉพาะการขนส่งทางเรือนั่นเอง แต่สำหรับเงื่อนไข CPT นี้ ผู้ขายต้องส่งมอบสินค้าให้กับผู้รับขนส่ง (Carrier) ณ สถานที่รับของ ไม่ต้องส่งของขึ้นเรือ



5.8 CIP ( .... ระบุท่าปลายทาง)

เช่นเดียวกับ CPT ทุกประการ แต่เพิ่มภาระให้ผู้ขายต้องเอาประกันภัยด้วย ถ้าจะว่าไปแล้ว ความหมายของ CIP ก็ใกล้เคียงกับ CIF จะต่างกันก็ตรงที่ CIP ใช้ได้กับการขนส่งทุกรูปแบบ ตลอดจน multimodal transport แต่ CIF ใช้กับการขนส่งทางเรือเท่านั้น



5.9 DAF ( .... ระบุสถานที่)

สำหรับการขนส่งสินค้าโดยผู้ขายไปจนถึงพรมแดนของประเทศโดยผ่านด่านศุลกากรขาออกของประเทศผู้ขายไปแล้ว แต่ยังไม่ผ่านด่านศุลกากรขาเข้าของประเทศผู้ซื้อ ค่าใช้จ่ายและความเสี่ยงเป็นของผู้ขายไปถึงจุดที่ว่านั้น ณ พรมแดน ทั้งนี้ เว้นจะตกลงกันเป็นอย่างอื่น



5.10 DES ( .... ระบุท่าปลายทาง)

ผู้ขายต้องรับภาระค่าใช้จ่ายและความเสี่ยง จนกระทั่งเรือไปถึงและเทียบท่าปลายทางความรับผิดชอบนี้จะจำกัดอยู่แค่นั้น โดยสินค้ายังอยู่บนเรือ สำหรับการขนของลงจากเรือและค่าใช้จ่ายตลอดจนความเสี่ยงอื่น ๆ ที่ตามมา เป็นเรื่องของผู้ซื้อแต่ลำพังเพียงผู้เดียว



5.11 DEQ ( .... ระบุท่าปลายทาง)

เหมือนกันกับ DES ข้างบน หากแต่ผู้ขายต้องขนส่งสินค้าลงที่หน้าท่าให้ด้วย ต่อจากนั้นจึงเป็นภาระของผู้ซื้อ ค่าอากรขาเข้าและภาระในการขอใบอนุญาตนำเข้า (ถ้าจำเป็นต้องมี) ผู้ซื้อต้องจัดการเอง เงื่อนไขนี้ เดิมใน Incoterms 1990 ผู้ขายหรือผู้ซื้อฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดจะจ่ายก็ได้ แล้วแต่จะตกลงกัน (แต่ปกติแล้วผู้ขายต้องจ่าย) คราวนี้เปลี่ยนเป็นให้ผู้ซื้อจ่ายอย่างเดียว



5.12 DDU ( .... ระบุสถานที่ปลายทาง)

ผู้ขายจะต้องขนส่งสินค้าไปจนถึงสถานที่ที่ผู้ซื้อกำหนดในประเทศปลายทาง เช่นให้ส่งที่คลังสินค้าของผู้ซื้อไม่ว่าจะตั้งอยู่ที่ไหน ในประเทศปลายทางดังกล่าว แต่ถ้าตกลงกันว่าให้ส่งมอบสินค้าในบริเวณท่าเรือปลายทางก็ควรใช้เงื่อนไข DES หรือ DEQ แทน ในการนี้ผู้ขายจะจัดการขนส่งสินค้าไปจนถึงสถานที่ที่จะส่งมอบ แต่เป็นหน้าที่ของผู้ซื้อที่จะต้องจัดการขนสินค้าดังกล่าวลงจากยานพาหนะที่ไปส่งสินค้าเอง อย่างไรก็ตาม ทางฝ่ายผู้ซื้อต้องชำระค่าอากรขาเข้าตลอดจนภาษีอื่น ๆ ของประเทศที่นำสินค้าเข้าเองด้วย



5.13 DDP ( .... ระบุสถานที่ปลายทาง)

ผู้ขายต้องรับภาระสูงสุด (และราคาก็สูงสุดเหมือนกัน)เพราะฝ่ายผู้ซื้อไม่ต้องทำอะไรและไม่ต้องจ่ายค่าอากรขาเข้าด้วย เป็นหน้าที่ของผู้ขายที่จะต้องเหมาหมด การขนสินค้าลงจากยานพาหนะที่ไปส่งก็เป็นหน้าที่ของผู้ซื้อเช่นเดียวกันกับภายใต้เงื่อนไข DDUและถ้าตกลงจะส่งมอบกันในบริเวณท่าเรือ ก็ให้ใช้เงื่อนไข DES หรือ DEQ แทนเหมือนกันกับกรณี DDU ที่กล่าวแล้ว ภายใต้เงื่อนไข DDP นี้ ราคาสินค้าต่อหน่วยจะแพงที่สุด เพราะผู้ขายต้องรับภาระทุกอย่าง